วันอาทิตย์ที่ 5 สิงหาคม พ.ศ. 2550

แร้งคุง

พญาแร้ง เป็น นกขนาดใหญ่ ขนาดประมาณ 81 - 85 ซม. หางสั้น ปลายหางค่อนข้าง เป็นรูปพลั่ว ตัวเต็มวัยสีตามลำตัวออกเป็นสีดำ อก และ สีข้างมีแถบสีขาว บริเวณหัว คอ และ ขา สีแดง ปีกสีดำ บริเวณโคน ขน ปลายปีกทั้งด้านบน และ ด้านล่างมีลายพาดสีเทา ตัวไม่เต็มวัย ของ พญาแร้ง แตกต่างจากตัวไม่เต็มวัย ของอีแร้ง อื่นๆ ตรงที่มีสีขาว บริเวณท้องตอนล่าง และ ขนคลุมโคนหาง ในขณะที่ตัวที่ไม่เต็มวัย ของ แร้งอื่นๆ มักจะเป็นสีน้ำตาลเข้ม หัว ปกคลุมไปด้วยขนอุยสีขาว

สมาคมอนุรักษ์นกและธรรมชาติแห่ง ประเทศไทย ร่วมกับคณะสัตวแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ กลุ่มศึกษาเหยี่ยวและ นกอินทรีในประเทศไทย และสมาคมไทยท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ และผจญภัย จัดตั้งกองทุนฟื้นฟูแร้งดำหิมาลัย เพื่อปล่อยคืนสู่ธรรมชาติ โดยมีวัตถุประสงค์ที่จะระดมทุนเพื่อฟื้นฟูสภาพ แร้งดำหิมาลัยที่ได้ผลัดหลงมาในประเทศไทย เพื่อปล่อยคืนสู่ถิ่นที่อยู่อาศัยอย่างปลอดภัย รวมทั้งติดวิทยุสัญญาณดาวเทียมเพื่อศึกษา การเคลื่อนย้ายหากิน ซึ่งจะเป็นประโยชน์ในการศึกษาต่อไป
ขอขอบคุณ 1
2




มนุษย์ลำปาง




มนุษย์ลำปาง-โฮโมอีเร็คตัส 500,000 ปี
โฮโม อิเร็คตัส (Homo erectus) เป็นสายพันธ์มนุษย์ (Huminoid) มีวิวัฒนาการเมื่อประมาณ 1ล้านถึง 5 แสนปีมาแล้วของสมัยไพลสโตซีน (Pleistocene Epoch) มีลักษณกะโหลกค่อนข้างหนาเทอะทะและมีหน้าผากลาด มีสันเหนือกระบอกตา (Supra-Orbital Ridge) เป็นสันนูนหนา แต่ขนาดความหนาย้อยกว่ามนุษย์นีแอนเดอธัลเล็กน้อยมีความจุขนาดสมองปริมาตร 800 – 1,200 ซีซี
โฮโม อิเร็คตัส ที่ค้นพบได้จากจังหวัดลำปาง น่าจะได้รับการขนานนามว่า “ มนุษย์สยาม “ (Siam Man) “ มนุษย์ลำปาง ” ( Lampang Man ) หรือ “ มนุษย์เกาะคา ” (KO-KHA Man) ตามแหล่งที่ค้นพบ
นับเป็นครั้งแรกของโลกที่พบฟอสซิล มนุษย์โบราณ โดยคนพื้นเมืองเจ้าของประเทศและเป็นการเปิดเผยโฉมหน้าใหม่ของประวัติศาสตร์ เกี่ยวกับวิวัฒนาการ การเกิดขึ้นเป็นมนุษย์ในแผ่นดินไทยและในทวีปเอเชีย

ขอขอบคุณ แผ่นพับแนะนำแหล่งท่องเที่ยวขององค์การบริหารส่วนจังหวัดลำปาง

รีเทิน ออฟ ช่างตัดผม

ตัดกันซะหมดงี้เซงแย่เลย
ชมวิวทีทัด

ตากวดเก่าๆ

มีน้ามตาลให้อารมเก่าๆดูสี่นๆแบบกล้องยุคแรกคัฟ

http://www.fileupyours.com/files/104434/Movie.wmv

ดูแล้วเม้นดูน้ากัฟ